วันศุกร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

โดราเอมอน (Doraemon) ไดรับยกยองจากนิตยสารTime

โดราเอมอน
รังสรรคธนะพรพันธุ
โดราเอมอน (Doraemon) ไดรับยกยองจากนิตยสารTime (April 29, 2002) ใหเปน
วีรชนอาเซีย (Asian Heroes) แตโดราเอมอนแตกตางจากวีรชนอาเซยคนอ ี ื่นๆ ในหมูวีรชนอาเซีย
จานวน ํ 25 คนที่นิตยสารTimeยกยอง 24 คนเปนมนุษยเฉพาะโดราเอมอนเทานั้นที่เปนตัวการตูน
ผูที่ไดรับยกยองเปนวีรชนอาเซียสวนใหญเปนผูนําทางการเมือง ผูมีบทบาทในการ
ขบเคล ั อนขบวนการส ื่ ิทธิและเสรีภาพ บางคนเปนนักเขียน นักกีฬา นักรอง และดาราภาพยนตรผูมี
บทบาทในการนําอาเซียในดานตางๆ
แตเหตุใด ตัวการตูนอยางโดราเอมอนจึงไดรับการยกยองเปนวีรชนอาเซียเคียงคู
มนุษย ?
ในทางเศรษฐกิจ โดราเอมอนเปน ‘สนคิ า’ ทใหี่ รายได  อยางสําคัญแกญี่ปุนประเทศ
ตนกําเนิด ผลผลิตอันเกี่ยวเนื่องกับโดราเอมอนมิไดมีเฉพาะแตหนังสือการตูนเทานั้น หากยังมี
ภาพยนตรทงภาพยนตร ั้ โรงและภาพยนตรโทรทัศนซึ่งใหผลผลิตตอเนื่องทั้งในรูปเทป VHS VCD และ
DVD อกที ั้งยังมี VDO Games กระดาษติดผนัง (wall paper) โปสเตอร ตุกตา และของที่ระลึก
อีกดวย
ในดานวัฒนธรรม โดราเอมอนเปนสวนหนึ่งของจักรกลที่ขับเคลื่อนกระบวนการ
สากลานุวัตรของวัฒนธรรมญี่ปุน ซึ่งไลหลังวัฒนธรรมแองโกลแซกซันในฐานะวัฒนธรรมสากล
โดราเอมอนและการตูนญี่ปุนอื่นๆมีสวนสําคัญในการเผยแพรวัฒนธรรมญี่ปุนดานตางๆ ในประการ
สําคัญ โดราเอมอนมีความเปนสากลในตัวของมันเอง ผูคนในมนษยพ ุ ภพในฐานถ ิ ิ่นตางๆอยางนอย2
ตองเคยพานพบภาพโดราเอมอน สําหรับผูที่ทองใน Cyberspace ผาน www.msn.com หรือ
www.google.comจะพบวา มี websites ทเกี่ ยวพ ี่ นกั บโดราเอมอนมากกว ั า 10,000 แหง
ในดานจิตวิญญาณ โดราเอมอนเปนสัญลักษณแหงสุขทรรศน ผูซึ่งไมเพียงแต
มองโลกในดานด  เที านั้น หากยังยึดคติวา ปญหาทุกปญหาลวนแลวแตแกไขไดทั้งสิ้นอีกดวย ดังนั้น
มนษยุ จงมึ ควรร ิ สูึกอับจนและทอถอย หากแตควรมีความมุงมั่นในการฟนฝาอุปสรรคทั้งปวง
โดราเอมอนเปนหนังสือการตูนที่สรางสรรคโดยฮโรชิ ิ ฟูจิโมโต (Hiroshi Fujimoto)
รวมกับโมโตโอะ อาบิโกะ (Motoo Abiko) ทงสองใช ั้ นามปกการวมกันวา ฟูจิโกะ ฟูจิโอะ (Fujiko
Fujio) โดราเอมอนปรากฏสูบรรณพิภพครั้งแรกเมื่อไร ไมเปนที่แนชัด ขอมูลจากหนังสือพิมพบาง
ฉบับระบุป 2507 ขอมูลจาก websites หลายแหงระบุป 2512-2513 ฟูจิโมโตและอาบโกะร ิ วมกันสราง
สรรคโดราเอมอนจนถ  ึงป 2530 จึงแยกกันเดิน โดยที่ฟูจิโมโตยังคงผลิตโดราเอมอนตอมาภายใตนาม
ปากกา ฟูจิโกะเอฟ. ฟูจิโอะ (Fujiko F. Fujio) เมอมื่ การน ี าการ ํ ตูนโดราเอมอนไปสรางเปนภาพยนตร
ทงสองกล ั้ ับมารวมงานกันใหม อาบโกะเม ิ อแยกทางก ื่ ับฟูจิโมโต ยึดนามปากกา ฟูจิโกะ ฟูจิโอะ เอ.
(Fujiko Fujio A.)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น